Thidapath Anucharn
ธิดาภัทร อนุชาญ
ตำแหน่ง : อาจารย์
ตำแหน่งทางวิชาการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดคณะ : บริหารธุรกิจ
หลักสูตร : ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
เบอร์โทร : 074-317100
อีเมล์ : thidapath.a@rmusv.ac.th
Thidapath Anucharn
Present Position : Lecturer
Academic Ranks : Assistant Professor
Faculty : Business Administration
Course : Business Information System
Tel : 074-317100
E-mail : thidapath.a@rmusv.ac.th
การศึกษา : Education
ปริญญาเอก: วท.ด. (ภูมิสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ปริญญาโท: วท.ม. (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ปริญญาตรี: วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สาขาที่เชี่ยวชาญ : Exprience
ภูมิสารสนเทศ (Geoinfomatics)
แบบจำลองทางอุทกวิทยา (Hydrological Modeling)
การวิเคราะห์การตัดสินใจแบบหลายกฎเกณฑ์ (Multi-criteria Decision Analysis: MCDA)
การวิเคราะห์และออกแบบซอฟต์แวร์ (Software Analyst and Design)
ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System)
ระบบธุรกิจอัจฉริยะ (Business Intelligence)
ประสบการณ์การสอน : Teaching Exprience
ระดับปริญญาตรี
เทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ
โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ระบบการจัดการฐานข้อมูล
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
การประกอบการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิศวกรรมซอฟต์แวร์
ระบบการจัดการความรู้
สัมมนาคุณธรรมจริยธรรม
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อธุรกิจ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
ระบบสารสนเทศในองค์กร
การเตรียมความพร้อมสหกิจศึกษาด้านสารสนเทศ
หลักระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
การรับรู้ระยะไกลขั้นพื้นฐาน
ภูมิสารสนเทศศาสตร์ประยุกต์
การประมวลผลเชิงเลขของข้อมูลดาวเทียม
การรับรู้จากระยะไกลและการแปลตีความข้อมูลภาพ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเชิงพื้นที่
ระดับปริญญาโท-เอก
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการธุรกิจ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
การใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
การพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับผู้ประกอบการ
งานวิจัยที่สนใจ : Search Interests
การท่องเที่ยว
การจัดการภัยพิบัติ
การสนับสนุนการตัดสินใจเชิงพื้นที่
ผลงานวิจัยหรือสิ่งประดิษฐ์ : Research or Innovation
Anucharn, T. 2017. A Comparison of Landslide Susceptibility Maps Produced by Weighted Linear Combination and Analytical Hierarchy Process Methods: A Case Study at Khao Phanom Bencha Watershed in Krabi Province. Walailak J Sci & Tech. 14(6): 501-516.
นิติ เอี่ยมชื่น, พิษณุ อนุชาญ และธิดาภัทร อนุชาญ. 2564. การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้สถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ตามรอยพระพุทธเจ้าหลวง (รัชกาลที่ 5) ของจังหวัดสงขลา. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 26 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน.
ธิดาภัทร อนุชาญ และณัฐริกา ทองจิต. 2563. การสร้างแผนที่ความอ่อนไหวในการเกิดน้ำท่วม โดยใช้วิธีอัตราส่วนความถี่และดัชนีทางสถิติ กรณีศึกษาจังหวัดนครสวรรค์. วารสารวิชาการเพื่อการพัฒนานวัตกรรมเชิงพื้นที่ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน : 19-30.
ธิดาภัทร อนุชาญ. 2563. การวิเคราะห์พื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับการจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว และเส้นทางอพยพ : กรณีศึกษาบริเวณเขตน้ำท่วมลุ่มน้ำย่อยคลองนาทวี จังหวัดสงขลา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 39 ฉบับที่ 2 มีนาคม – เมษายน : 224-236.
ธิดาภัทร อนุชาญ. 2562. การเปรียบเทียบวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการสร้างแผนที่ความอ่อนไหวต่อการเกิดน้ำท่วมบริเวณลุ่มน้ำย่อยคลองนาทวี จังหวัดสงขลา. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม : 612-629.
ธิดาภัทร อนุชาญ. 2562. การศึกษาปัจจัยทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อความอ่อนไหวในการเกิดน้ำท่วม บริเวณลุ่มน้ำย่อยคลองนาทวี ด้วยวิธีการถดถอยพหุโลจิสติกส์. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน : 284-298.
ธิดาภัทร อนุชาญ และ นิติ เอี่ยมชื่น. 2561. การวิเคราะห์ความเสี่ยงพื้นที่น้ำท่วมโดยใช้แบบจำลองต้นไม้การตัดสินใจ บริเวณลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 มกราคม-กุมภาพันธ์ : 98-107.
ธิดาภัทร อนุชาญ และ นิติ เอี่ยมชื่น. 2560. การทำแผนที่ความอ่อนไหวต่อการเกิดน้ำท่วมโดยวิธีการอัตราส่วนความถี่ บริเวณลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ในภาคใต้ของประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม : 106-122.
ธิดาภัทร อนุชาญ. 2559. การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการกำหนดพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับ การอพยพ และที่ตั้งศูนย์อพยพจากเขตน้ำท่วม กรณีศึกษา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม : 1-14.
จักรกฤษณ์ หมั่นวิชา ธิดาภัทร อนุชาญ อภิรักษ์ พันธุ์พณาสกุล เจริญ รุ่งกลิ่น ขนิษฐา สุภาพงค์ และ รัชดาภรณ์ ทิพยโสธร. 2559. การพัฒนาต้นแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้ากระจูดบ้านทะเลน้อย จังหวัดพัทลุง. การประชุมหาดใหญ่วิชาการ ครั้งที่ 7 วันที่ 23 มิถุนายน 2559 มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ : 1415-1426.
ตำรา หนังสือ : Text book
ประสบการณ์การทำงาน : Work Experience
พ.ศ. 2561- ปัจจุบัน อาจารย์ประจำสาขาระบบสารสนเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
พ.ศ. 2559- 2561 อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และผู้ช่วยคณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
พ.ศ. 2558- 2559 อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
พ.ศ. 2554- 2558 อาจารย์ประจำสาขาวิชาภูมิสารสนเทศศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ (ลาศึกษาต่อ)
พ.ศ. 2552- 2554 หัวหน้าสาขาวิชาภูมิสารสนเทศศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
พ.ศ. 2549- 2552 อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และเลขานุการคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
พ.ศ. 2547- 2549 เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผนงาน งานนโยบายและแผน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ งานที่ได้รับมอบหมาย ดูแลระบบฐานข้อมูล เว็บไซต์ รายงาน กพร. KPIs
พ.ศ. 2546- 2546 Marketing Communication บริษัท เค.เอส.พี อินเตอร์เคม จำกัด งานที่ได้รับมอบหมาย ดูแลระบบฐานข้อมูล วิเคราะห์ความต้องการของลูกค้าในด้านสินค้าที่จำหน่าย ออกแบบโบรชัวร์สินค้า